[x] ปิดหน้าต่างนี้
Powered by ATOMYMAXSITE 2.5
:::โรงเรียนจอมพระประชาสรรค์ยินดีต้อนรับ:::
ยินดีต้อนรับคุณ บุคคลทั่วไป  
English Chinese (Simplified) Chinese (Traditional) French German Italian Japanese Korean Portuguese Russian Spanish Vietnamese Thai     
ค้นหา   
::: ยินดีต้อนรับสู่ เว็บไซต์โรงเรียนจอมพระประชาสรรค์ อำเภอจอมพระ จังหวัดสุรินทร์ 32180 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต33 กระทรวงศึกษาธิการ :::
เมนูหลัก
ภาระงานกลุ่มบริหาร






ภาระงานกลุ่มสาระ
















ภาระงาน จปส.


 






 



 




หลักสูตรลดเรียนเพิ่มรู้&บูรณาการ
กิจกรรมสาธารณะประโยชน์ IS3 
 








ห้องเรียนออนไลน์








 

poll

   คุณคิดว่าเวปนี้เป็นอย่างไร


  1. ดีเยี่ยม
  2. ดีมาก
  3. ดี
  4. ปานกลาง
  5. พอใช้


ช่องทางร้องทุกข์
ระบบสารสนเทศ





















  

   เว็บบอร์ด >> ห้องนั่งเล่น >>
แอบลุ้นสนามฟุตบอลกาตาร์ ฟาดแข้งศึกฟุตบอลโลก 2022  VIEW : 124    
โดย กระต่าย

UID : ไม่มีข้อมูล
โพสแล้ว : 41
ตอบแล้ว :
เพศ :
ระดับ : 5
Exp : 18%
เข้าระบบ :
ออฟไลน์ :
IP : 49.228.241.xxx

 
เมื่อ : พุธ ที่ 23 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2565 เวลา 20:36:44    ปักหมุดและแบ่งปัน

เจ้าภาพฟุตบอลโลก 2022 ประเทศขนาดเล็กรายล้อมด้วยทะเลทราย ท่ามกลางสภาพแวดล้อมและอากาศที่สุดขั้วเช่นนี้ กาตาร์ต้องใช้วิทยาการขั้นสูงต่อสู้กับอากาศที่ร้อนสุดขั้ว เพื่อให้การแข่งขันผ่านไปได้ด้วยดีและปลอดภัยต่อแฟนบอลและนักเตะจากทั่วโลก

jakataa

การได้รับเลือกให้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันฟุตบอลโลก 2022 เป็นเรื่องท้าทายของรัฐบาลกาตาร์ ที่ต้อง รับมือกับจำนวนคนที่เข้ามาดูฟุตบอลโลก นักกีฬา ท่ามกลางสภาพอากาศร้อนทะลุ 50 องศาเซลเซียสเช่นนี้

การเลื่อนเวลาจัดการแข่งขันไปเป็นช่วงฤดูหนาว เป็นคำตอบหนึ่งของการแก้ปัญหาเรื่องสภาพอากาศ แต่นั่นยังไม่สร้างความมั่นใจให้กาตาร์มากพอ ที่จะเปิดประเทศต้อนรับนักกีฬาและแฟนบอลจากทั่วโลก ชาติร่ำรวยอย่างกาตาร์จึงจัดการเรื่องนี้ด้วยวิธีการอันสุดโต่ง นั่นคือการใช้เทคโนโลยีที่จะช่วยให้แม้แต่ประเทศที่มีสภาพอากาศร้อนที่สุดสามารถจัดการแข่งขันกีฬารายการใหญ่ได้ตลอดทั้งปี

ความท้าทายแรกคือการระบายลมร้อน ยกตัวอย่างกรณี สนามอัลจา นูบ มีการออกแบบหลังคาเป็นช่องให้ลมไหลเวียนได้โดยรอบ สีโทนอ่อนช่วยสะท้อนแสงและความร้อนจากดวงอาทิตย์ได้ด้วย

ในวันแข่งขัน สนามจะเนืองแน่นไปด้วยผู้คนประมาณ 40,000 คน และแต่ละคนต่างเป็นแหล่งกำเนิดความร้อนและความชื้น ทำให้ต้องมีการนำระบบทำความเย็นมาใช้ เพื่อทำให้ภายในสนามและอัฒจันทร์เย็น

โดยที่แฟนบอลบนอัฒจันทร์จะได้รับความเย็นจากช่องปล่อยลมเย็นใต้ที่นั่งแต่ละตัว หัวฉีดขนาดเล็ก ซึ่งทำงานเหมือนหัวฝักบัวอาบน้ำ จะปล่อยลมเย็นเพื่อให้อากาศไหลเวียนไปรอบ ๆ ผู้ชม ลมที่ปล่อยออกมามีลักษณะเป็นสายลมอ่อน ไม่ใช่ลมที่พุ่งเป้าเจาะจงแบบช่องแอร์เหนือที่นั่งผู้โดยสารบนเครื่องบิน

ส่วนการระบายความร้อนเพื่อช่วยเหล่านักกีฬาในสนามนั้น ด้วยสภาพอากาศชื้นของประเทศจะทำให้เหงื่อระเหยได้ยากขึ้น และอาจทำให้ร่างกายมีอุณหภูมิสูงเกินไป จนเกิดโรคฮีทสโตรก หรือโรคลมแดดได้ และนักฟุตบอลอาจต้องวิ่งเป็นระยะทางรวมกว่า 10 กม.ในระหว่างการแข่งขันแต่ละนัด เสียเหงื่อได้ถึง 3 ลิตร ดังนั้นพวกเขาจึงต้องทำให้ร่างกายเย็นและดื่มน้ำให้เพียงพออยู่เสมอ ในสนามฟุตบอลจึงต้องมีการระดมพ่นลมเย็นจากหัวฉีดขนาดใหญ่เข้าไปในสนามเพื่อสร้างชั้นอากาศเย็นไปทั่วสนามแข่ง

ดร.ซาอุด อับดุล กานี ผู้เชี่ยวชาญด้านการปรับอากาศในสนามฟุตบอล ให้สัมภาษณ์สำนักข่าว BBC ว่า วิธีการนี้จะช่วยสร้างพื้นที่ซึ่งเปรียบเสมือนฟองอากาศที่กักเก็บลมเย็นอุณหภูมิประมาณ 18-24 องศาเซลเซียสภายในสนามแข่ง โดยมีความสูงไม่ถึง 2 เมตรจากพื้นดินหรือจากอัฒจันทร์

ติดตามข่าวสารเกมส์น่าสนใจได้ที่ inwesport.com

https://inwesport.com/%e0%b9%81%e0%b8%ad%e0%b8%9a%e0%b8%a5%e0%b8%b8%e0%b9%89%e0%b8%99%e0%b8%aa%e0%b8%99%e0%b8%b2%e0%b8%a1%e0%b8%9f%e0%b8%b8%e0%b8%95%e0%b8%9a%e0%b8%ad%e0%b8%a5%e0%b8%81%e0%b8%b2%e0%b8%95%e0%b8%b2%e0%b8%a3/